รหัสและคำอธิบายเล่ม3  >> หมวดวิชาเคมี์

ต่อไป ต่อไป

: : หมู่เคมี: :

หมู่วิชาเคมี ซึ่งอยู่ในหมวดวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดลักษณะเนื้อหาวิชาออกเป็นดังนี้

1. เคมีทั่วไป

(402-1--)

2. เคมีอนินทรีย์

(402-2--)

3. เคมีอินทรีย์ พลาสติก พอลีเมอร์

(402-3--)

4. เคมีเชิงฟิสิกส์

(402-4--)

5. ชีวเคมี
(402-5--)
6. เคมีวิเคราะห์
(402-6--)
7. เคมีประยุกต์ เทคโนโลยีการยาง
(402-7--)
8. การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
(402-8--)
9. โครงการพิเศษ ปัญหาพิเศษ วิทยานิพนธ์ โครงการศึกษาเอกเทศ การสัมมนา และการวิจัย
(402-9--)

 

หมู่วิชาเคมี (402)

รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป)
รหัสใหม่ รหัสเก่า

 

4021101

4021102

4021105

4021106

4021107

4021108

4021109

4021110

4021111

4021112

4021113

4021114

4021701

4021702

4021703

4021704

4022101

4022102

4022103

4022201

4022202

4022302

4022303

4022304

4022305

4022307

4022308

4022401

4022404

4022405

4022414

4022415

4022501

4022502

4022503

4022504

4022505

4022516

4022517

4022603

4022610

4022611

4022612

4022613

4022614

4022615

4022616

4022617

4022618

4022619

4022620

4022621

4022701

4022702

4022704

4022706

4022707

4022708

4022709

4022710

4022711

4022712

4022715

4022716

4022717

4022718

4022719

4022720

4022721

4022801

4022802

4022803

4022804

4022901

4022902

4023101

4023201

4023202

4023203

4023204

4023205

4023206

4023301

4023302

4023304

4023307

4023308

4023309

4023401

4023402

4023501

4023502

4023603

4023604

4023605

4023702

4023703

4023706

4023707

4023708

4023709

4023710

4023711

4023712

4023713

4023714

4023715

4023716

4023717

4023718

4023719

4023720

4023721

4023722

4023723

4023724

4023725

4023726

4023728

4023729

4023730

4023731

4023732

4023733

4023801

4023802

4023902

4023904

4024201

4024204

4024301

4024306

4024307

4024403

4024404

4024503

4024505

4024506

4024601

4024605

4024606

4024701

4024703

4024708

4024801

4024802

4024903

4024904

4024905

4024906

4024907

4024908

 

-

-

-

-

-

-

-

4021108

4021109

4021110

4021111

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4022708

4022715

4022716

4022717

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4023303

4023305

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

 

เคมีทั่วไป 1

เคมีพื้นฐาน

เคมี 1

ปฏิบัติการเคมี 1

เคมีอินทรีย์พื้นฐาน

เคมีทั่วไป

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

เคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

ปฏิบัติการเคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

เคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

หลักเคมี

เคมีประยุกต์ในวิชาคหกรรมศาสตร์

ยางธรรมชาติ

ยางสังเคราะห์

เคมียาง

เคมีทั่วไป 2

เคมี 2

ปฏิบัติการเคมี 2

เคมีอนินทรีย์ 1

ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1

พอลิเมอร์

เคมีพอลิเมอร์ 1

เคมีพอลิเมอร์ 2

เทคโนโลยีพลาสติก

เคมีอินทรีย์ 1

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1

เคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับเซรามิกส์

เคมีเชิงฟิสิกส์ 1

ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 1

เคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

ชีวเคมีพื้นฐาน

ปฏิบัติการชีวเคมี

ชีวเคมี 1

ปฏิบัติการชีวเคมี 1

หลักชีวเคมี

ชีวเคมีสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

ปฏิบัติการชีวเคมีสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

การวิเคราะห์อาหาร

คุณภาพวิเคราะห์

ปฏิบัติการคุณภาพวิเคราะห์

ปริมาณวิเคราะห์

ปฏิบัติการปริมาณวิเคราะห์

การวิเคราะห์เคมีด้วยอุปกรณ์ 1

ปฏิบัติการวิเคราะห์เคมีด้วยอุปกรณ์ 1

เคมีวิเคราะห์

ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์

การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1

ปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1

เคมีวิเคราะห์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

เคมีประยุกต์ 1

กระบวนการทางเคมีอุตสาหกรรม

เคมีอาหาร 1

กระบวนการแปรรูปยาง

ผลิตภัณฑ์ยาง

เทคโนโลยีลาเท็กซ์

สารเคมีผสมยาง

ปฏิบัติการวิเคราะห์ยางและสารเคมีผสมยาง

การออกแบบผลิตภัณฑ์ยางเบื้องต้น

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยียาง

ปฏิบัติการแปรรูปยาง

ปฏิบัติการออกสูตรยางเพื่อคุณสมบัติเฉพาะ

ปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์ยาง

เทคโนโลยีน้ำยาง

ปฏิบัติการเทคโนโลยียาง 1

ปฏิบัติการเทคโนโลยียาง 2

ปฏิบัติการเทคโนโลยียาง 3

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยียาง 1

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยียาง 1

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคมีปฏิบัติ 1

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคมีปฏิบัติ 1

โครงการพิเศษยาง

สัมมนาเทคโนโลยียาง

เคมีทั่วไป 3

เคมีอนินทรีย์1

เคมีอนินทรีย์ 2

ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 2

เคมีอนินทรีย์ 3

ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 3

เคมีออร์แกโนเมทาลิก

เคมีอินทรีย์ 2

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2

เคมีอินทรีย์ 3

สเปกโทรสโกปีสำหรับเคมีอินทรีย์

อินทรีย์สังเคราะห์

ปฏิบัติการอินทรีย์สังเคราะห์

เคมีเชิงฟิสิกส์ 2

ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 2

ชีวเคมี 2

ปฏิบัติการชีวเคมี 2

การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2

ปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2

การวิเคราะห์ดินและปุ๋ย

การผลิตอุปกรณ์การสอนเคมี

เสริมทักษะปฏิบัติการเคมี

เคมีอุตสาหกรรม

ยูนิตโอเปอเรชัน

เคมีสภาวะแวดล้อม

ปฏิบัติการเคมีสภาวะแวดล้อม

เคมีพอลิเมอร์เบื้องต้น

เคมีอาหาร

ปฏิบัติการเคมีอาหาร

เทคโนโลยีเกี่ยวกับปิโตรเลียม

อุตสาหกรรมเคมีปิโตรเลียม

เคมีเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง

เทคโนโลยีเซรามิกส์ 1

ปฏิบัติการเทคโนโลยีเซรามิกส์ 1

เทคโนโลยีเซรามิกส์ 2

ปฏิบัติการเทคโนโลยีเซรามิกส์ 2

เทคโนโลยีการเคลือบผิว

ปฏิบัติการเทคโนโลยีการเคลือบผิว

เคมีเกี่ยวกับสี

ปฏิบัติการเคมีเกี่ยวกับสี

เคมีเกี่ยวกับเครื่องสำอาง

เคมีเกี่ยวกับน้ำหอม

ปฏิบัติการเคมีเกี่ยวกับน้ำหอม

ปฏิบัติการเป่าแก้ว

เคมีของคอลลอยด์

พอลิเมอร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์

ปฏิบัติการวิเคราะห์พอลิเมอร์และสารเคมีผสมพอลิเมอร์

กาวและการติดประสานด้วยกาว

ปฏิบัติการเทคโนโลยีพอลิเมอร์

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคมี 3

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์3

วิทยาการใหม่ทางเคมี

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในทางเคมี

เคมีอนินทรีย์ 2

วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีอนินทรีย์

เคมีอินทรีย์ 2

เคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีอินทรีย์

เคมีเชิงฟิสิกส์ 3

วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีเชิงฟิสิกส์

ชีวเคมี 3

วิทยาการใหม่ในสาขาชีวเคมี

ชีวเคมีวิเคราะห์

เคมีวิเคราะห์ 1

วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีวิเคราะห์

การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือชั้นสูง

เคมีอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม

การเป่าแก้วเบื้องต้น

คุณสมบัติของสสารและรีโอโลยี

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคมี 3

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ 3

เคมีศึกษา

โครงการวิจัยทางเคมี

สัมมนาเคมีเฉพาะทาง 1

สัมมนาเคมีเฉพาะทาง 2

สัมมนาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์

ปฏิบัติการวิจัยทางเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์

 

3(2-2)

2(2-0)

3(3-0)

1(0-3)

3(2-2)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(2-2)

2(1-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(2-2)

3(2-2)

2(1-2)

2(2-0)

3(3-0)

1(0-3)

2(2-0)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(2-2)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(2-2)

3(3-0)

1(0-3)

3(2-2)

2(2-0)

2(0-4)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

2(0-6)

3(2-2)

2(1-2)

3(2-2)

3(3-0)

2(2-0)

3(2-2)

3(3-0)

2(0-4)

3(2-2)

2(2-0)

2(0-4)

2(0-4)

2(0-4)

3(2-2)

2(0-4)

2(0-4)

2(0-4)

2(90)

3(250)

2(90)

3(250)

3(2-2)

2(2-0)

3(2-2)

3(2-2)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

2(2-0)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

2(2-0)

2(2-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(2-2)

3(2-2)

2(1-3)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

3(3-0)

1(0-3)

2(2-0)

2(2-0)

2(2-0)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

1(0-3)

3(3-0)

2(2-0)

2(0-4)

2(0-4)

3(3-0)

3(3-0)

2(0-4)

2(2-0)

2(0-4)

2(90)

2(90)

2(2-0)

2(1-2)

3(2-2)

2(2-0)

3(2-2)

3(2-2)

2(2-0)

3(3-0)

2(2-0)

3(3-0)

2(2-0)

2(2-0)

3(2-2)

2(2-0)

2(2-0)

3(2-2)

2(1-3)

3(2-2)

5(250)

5(450)

3(2-2)

2(0-4)

1(0-2)

1(0-2)

2(2-0)

5(300)

คำอธิบายรายวิชา

หมู่วิชาเคมี(402)

>
รหัส ชื่อและคำอธิบายรายวิชา น(ท-ป)
4021101 เคมีทั่วไป 1
General Chemistry 1
3(2-2)
  หลักเคมีเบื้องต้น การจำแนกสาร สมบัติของธาตุ สารประกอบ ของผสม สารละลาย วิธีแยกโดยการกลั่น การกรอง การตกผลึก การใช้ตัวทำละลายและโครมาโทกราฟี ระบบเปิด ระบบปิด ปริมาณสารสัมพันธ์ ความเข้มข้นของสารละลาย อะตอม โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมีเบื้องต้น ปฏิกิริยาเคมี องค์ประกอบที่มีผลต่ออัตราของปฏิกิริยา กรด เบส เกลือ อินดิเคเตอร์ สมบัติของแก๊ส ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ความดันและอุณหภูมิ ทฤษฎีจลน์ โมเลกุลของแก๊ส การแพร่ของแก๊ส
     
4021102 เคมีพื้นฐาน
Basic Chemistry
2(2-0)
  หลักเคมีเบื้องต้น การจำแนกสาร สมบัติของธาตุ สารปะกอบ ของผสม สารละลาย สารแขวนลอย ระบบเปิด ระบบปิด กฎอนุรักษ์มวล กฎอนุรักษ์พลังงาน กฎส่วนประกอบจำกัด อะตอม โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ โมเลกุล พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ การเปลี่ยนแปลงของสาร ปฏิกิริยาเคมี และสมดุลเคมี กรด เบส เกลือ อินดิเคเตอร์ ชนิด สมบัติประโยชน์ของออกไซด์
     
4021105 เคมี 1
Chemistry 1
3(3-0)
  มวลสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมีเบื้องต้น สมบัติต่าง ๆ ของแก๊ส ของแข็ง ของเหลว สารละลาย อุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics) และจลนพลศาสตร์ (Kinetics)
     
4021106 ปฏิบัติการเคมี 1
Chemistry Laboratory 1
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคเบื้องต้นและหลักปฏิบัติทั่วไปในการปฏิบัติการเคมี การจัดสารเคมี เกรดของสารและการใช้สารเคมี ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี เทคนิคการใช้เครื่องมือพื้นฐานให้ถูกต้อง เทคนิคการเตรียมสารละลายเบื้องต้น ศึกษาสมบัติของธาตุ กฎของแก๊ส อุณหพลศาสตร์และจลนพลศาสตร์
     
4021107 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน
Fundamental of Organic Chemistry
3(2-2)
  ศึกษาการเกิดไฮบริดออร์ปิทัล สเตอริโอเคมี ชนิดของปฏิกิริยา เคมีอินทรีย์ การเรียกชื่อสมบัติกายภาพ การเตรียมและปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารประกอบอะโรเมติกและสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชั่นชนิดต่าง ๆ เช่น เฮไลด์ แอลกอฮอล์ อีเธอร์ แอลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิก และอนุพันธ์อะมีนและสารประกอบโมเลกุลใหญ่ เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรท ไขมัน เป็นต้น (ปฏิบัติการตามเนื้อหาข้างต้น) สำหรับผู้ที่ได้เรียน วท.บ.เคมี แต่ใช้เนื้อหาเคมีอินทรีย์เป็นพื้นฐานในการศึกษาอื่นต่อไป
     
4021108 เคมีทั่วไป
General Chemistry
3(3-0)
  มวลสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมีเบื้องต้น คุณสมบัติของของแข็ง ของเหลว จลนพลศาสตร์เบื้องต้น (Kinetics) สมดุลเคมี สมดุลไอออนิก เคมีนิวเคลียร์ เบื้องต้น
     
4021109 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป
General Chemistry Laboratory
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับ เทคนิคเบื้องต้น และหลักปฏิบัติทั่วไปในการปฏิบัติการเคมี การจัดสารเคมี เกรดของสาร และการใช้สารเคมี ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี เทคนิคการใช้เครื่องมือพื้นฐาน จลน์ศาสตร์ สมดุลเคมี pH ค่าคงที่ของการแตกตัวของกรดและเบส
     
4021110 เคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
General Chemistry for Agro-Industry
3(3-0)
  หลักเคมีเบื้องต้น สะสารและการจำแนกสาร มวลสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมีเบื้องต้น ปฏิกิริยากรด เบส เกลือ สมบัติต่าง ๆ ของแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย ปฏิกิริยานิวเคลียส์เบื้องต้น ไฟฟ้า เคมี
     
4021111 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
General Chemistry Laboratory for Agro-Industry
1(0-3)
  วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน คือวิชา 4021110 เคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

หลักปฏิบัติทั่วไปในปฏิบัติการเคมี ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคเบื้องต้นและการใช้เครื่องมือพื้นฐาน ศึกษาสมบัติและปฏิกิริยาของกรด เบส เกลือ สมบัติของของแข็ง ของเหลว แก๊ส และสาระละลายไฟฟ้าเคมี
     

4021112

เคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
Organic Chemistry for Agro-Industry
3(3-0)
  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์ สเตอริโอเคมี การจำแนกและการเรียกชื่อสารอินทรีย์ ชนิดและกลไกของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ ศึกษาโครงสร้าง สมบัติและการวิเคราะห์สารอินทรีย์กลุ่มต่าง ๆ คือสารประกอบอะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน สารอินทรีย์ที่มีออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และซัลเฟอร์ เป็นองค์ประกอบ สารประกอบ เฮเทอโร- ไซคลิก สารอินทรีย์ที่พบในธรรมชาติและสารประกอบออร์แกโนเมทัลลิก
     
4021113 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
Organic Chemistry Laboratory for Agro-Industry
1(0-3)
  วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน คือวิชา 4021112 เคมีอินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร เทคนิคการแยกสารอินทรีย์ และการทำให้บริสุทธิ์ เช่น การสกัด การ ตกผลึก โครมาโทกราฟี่ และการกลั่นลำดับส่วน การวิเคราะห์สารอินทรีย์ โดยวิธีทางเคมี เช่น การหาจุดหลอมเหลว จุดเดือด การสังเคราะห์สารอนุพันธ์ และปฏิกิริยาเฉพาะของสารนั้น ๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคทางสเปกโทรสโกปี
     
4021114 หลักเคมี
Fundamental in Chemistry
3(2-2)
  หลักเคมีเบื้องต้น การจำแนกสาร โครงสร้างอะตอม ธาตุ สารประกอบ พันธะเคมี สมบัติของสสารในสถานะต่าง ๆ ปฏิกิริยาเคมี สมบัติของกรด เบส และเกลือ เทคนิคการสกัด การแยก และการทำสารให้บริสุทธิ์ สารละลาย ประเภทและความเข้มข้นของสารละลาย เคมีอินทรีย์เบื้องต้น สารประกอบของคาร์บอน สารประกอบอินทรีย์ ไฮโดรคาร์บอน สารอาหาร พลังงานและแหล่งพลังงาน เช่น จากแสงอาทิตย์ จากเซลล์สิ่งมีชีวิต จากสารเชื้อเพลิงต่าง ๆ และปฏิบัติการเกี่ยวกับการศึกษาปฏิกิริยาเคมี สมบัติของกรดและเบส อัตราปฏิกิริยาเคมี การสกัดและการแยกสสาร วิธีการทำสารให้บริสุทธิ์ การเตรียมสารละลายในหน่วยความเข้มข้น ต่าง ๆ การตรวจสอบความเข้มข้น สมบัติของสารอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ และการตรวจสอบไอออนในสารละลาย
     
4021701 เคมีประยุกต์ในวิชาคหกรรมศาสตร์
Applied Chemistry in Home Economics
2(1-2)
  พื้นฐานทางเคมีอนินทรีย์ เคมีอินทรีย์ และชีวเคมีที่จะนำมาประยุกต์ในวิชา คหกรรมศาสตร์และชีวิตประจำวัน ปฏิบัติการเคมีที่เกี่ยวข้องกับวิชาคหกรรมศาสตร์
     
4021702 ยางธรรมชาติ
Natural Rubber
3(3-0)
  ประวัติ ชนิดของยางธรรมชาติ การทำสวนยาง การผลิตยางธรรมชาติ น้ำยางสด การทำยางแผ่น ยางแท่ง ยางเครป น้ำยางข้น สมบัติของยางธรรมชาติ อิทธิพลที่มีผลต่อสมบัติของยาง การทดสอบยางแท่ง การนำยางธรรมชาติไปใช้ในอุตสาหกรรม การผสมสารเคมีในยาง ธรรมชาติ
     
4021703 ยางสังเคราะห์
Synthetic Rubber
3(3-0)
  วิธีสังเคราะห์ยาง สมบัติทางกายภาพของยางสังเคราะห์ การผสมสารเคมีในยางสังเคราะห์เพื่อปรับปรุงคุณภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติทางกายภาพ ของยางสังเคราะห์กับโครงสร้างทางเคมี ยางสังเคราะห์ชนิดต่าง ๆ เช่น ยางเอสบีอาร์ ยางคลอโรพรีน ยางซิลิโคน ยางไนไทรล์ ยางบิวตาไดอีน ยางยูรีเทน เป็นต้น
     
4021704 เคมียาง
Rubber Chemistry
3(3-0)
  โครงสร้างของยางธรรมชาติ อนุพันธ์ของยางธรรมชาติ ยางคลอริเนต ยางไฮโดร-คลอริเนต ยางไซไคลศ์คารฟท์โคพอลีเมอร์ ยางอีพอกซิไดซ์ ปฏิกิริยาการวัลคาไนซ์ แบบใช้กำมะถันและตัวเร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาการวัลคาไนซ์โดยใช้สารเปอรออกไซด์ การหาปริมาณของ ครอสลิงก์ (Cross Links)
     
4022101 เคมีทั่วไป 2 3(2-2)
General Chemistry 2
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4021101 เคมีทั่วไป 1
3(2-2)
  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์ ไฮบริไดเซชันของอะตอมคาร์บอน พันธะในสารประกอบอินทรีย์ การเรียกชื่อและสมบัติของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชั่นนัลชนิดเดียว เช่น แอลคิลเฮไลด์ แอลกอฮอล์ อีเทอร์ แอลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิก เอมีน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารประกอบ

อะโรเมติก อาหาร สารอาหาร การทดสอบอาหาร และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม
     
4022102 เคมี 2
Chemistry 2
3(3-0)
  สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ กรด เบส เกลือ บัฟเฟอร์ เคมีไฟฟ้า เคมีอินทรีย์เบื้องต้น เคมีนิวเคลียร์เบื้องต้น เคมีสิ่งแวดล้อม
     
4022103 ปฏิบัติการเคมี 2
Chemistry Laboratory 2
1(0-3)
  การทดลองเกี่ยวกับสมดุลเคมี pH ค่าคงตัวของการแตกตัวของกรดและเบส ปฏิกิริยาและเบส เคมีไฟฟ้า เคมีอินทรีย์เบื้องต้น เช่น การหาจุดหลอมเหลว จุดเดือด การตกผลึกความแตกต่างระหว่างสารอินทรีย์กับสารอนินทรีย์ เคมีสิ่งแวดล้อม เช่น การหาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO)
     
4022201 คมีอนินทรีย์ 1
Inorganic Chemistry 1
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4021108 เคมีทั่วไป
3(3-0)
  ศึกษาเกี่ยวกับการเกิดสารประกอบไอออนิก วัฏจักรบอร์นฮาเบอร์ พลังงานแลตทิซและผลึกของสารประกอบไอออนิก ทฤษฎีพันธะโคเวเลนต์ รูปร่างโมเลกุล สมบัติและสารประกอบของธาตุในหมู่ต่าง ๆ โลหะ โลหะผสม สารกึ่ง

ตัวนำ เคมีของสารอนินทรีย์ในตัวทำละลายที่เป็นน้ำและที่ไม่ใช่น้ำ
     
4022202 ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1
Inorganic Chemistry Laboratory 1
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก โคเวเลนต์ เช่น การนำไฟฟ้า การละลาย การจัดเรียงอนุภาคในโครงผลึกและความเป็นขั้ว การเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อน ความว่องไวของการทำปฏิกิริยาของธาตุหมู่ 1A-7A กับน้ำและกรดเจือจาง การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชั่นของธาตุทรานซิชัน ปฏิกิริยาออกซิเด-ชั่น รีดักชั่น ปฏิบัติการเกี่ยวกับเคมีไฟฟ้า
     
4022302 พอลิเมอร์
Polymer
3(2-2)
  ประวัติของพอลิเมอร์ โครงสร้างของพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ไรเซชัน การจัดตัวทางเรขาคณิตของโมเลกุล ชนิดของพอลิเมอร์ โครงสร้างของพอลิเมอร์แต่ละชนิด โคพอลิเมอไร-เซชัน และเฮทเทอโรพอลิเมอไรเซชัน พอลิเมอร์สังเคราะห์ พอลิเมอร์ในธรรมชาติ เคมีของพอลิเมอร์ ใยสังเคราะห์ พอลิเมอร์ในอุตสาหกรรมพลาสติกและอุตสาหกรรมสี กาววิทยาศาสตร์ โฟโตพอลิเมอไรเซชัน พอลิเมอร์ทนไฟชนิดต่าง ๆ พอลิเมอร์ที่ใช้ทำปุ๋ย
   
4022303 เคมีพอลิเมอร์ 1
Chemistry of Polymers 1
3(2-2)
  ลักษณะสำคัญของพอลิเมอร์ การสังเคราะห์พอลิเมอร์แบบอนุมูลอิสระ แบบแคทไอออนิก แบบแอนไอออนิก แบบซีเกลอร์แนตตา (Zeyler – Natta) และแบบควบแน่น กลไกปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน แบบบัลก์ แบบอีมัลซัน แบบสารละลายและแบบแขวนลอย
     
4022304 เคมีพอลิเมอร์ 2
Chemistry of Polymers 2
2(1-2)
  การสังเคราะห์โคพอลิเมอร์ การตรวจสอบพอลิเมอร์ การหามวลเชิงโมเลกุลของพอลิเมอร์
     
4022305 เทคโนโลยีพลาสติก
Plastic Technology
2(2-0)
  ชนิดและสมบัติของพลาสติก การใช้สารเคมีผสมในพลาสติก การแปรรูปพลาสติก ความสัมพันธ์ระหว่างสูตรโครงสร้างและสมบัติทางกายภาพและการใช้งานของพลาสติก

4022307 เคมีอินทรีย์ 1
Organic Chemistry 1
3(3-0)
  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเคมีอินทรีย์ ไฮบริไดเซซันของคาร์บอนพันธะในสารประกอบอินทรีย์ การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ สเตอริ-โอเคมี ชนิดและกลไกของปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ สมบัติทางกายภาพ การเตรียมปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนด์ สารประกอบอะโรเมติกและสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชั่น ชนิดต่าง ๆ เช่น แอล-คิลเฮไลด์ แอลกอฮอล์ อีเธอร์ แอลดีไฮ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์และอะมีน การเกิดพอลิเมอร์
     
4022308 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1
Organic Chemistry Laboratory 1
1(0-3)
 

เทคนิคเบื้องต้นในการทำสารให้บริสุทธิ์ เช่น การสกัด การกลั่น การกรอง การตกผลึก และโครมาโตรกราฟี ปฏิบัติการเกี่ยวกับสเตอริโอเคมี การวิเคราะห์ สารอินทรีย์เบื้องต้น การหาธาตุองค์ประกอบในสารอินทรีย์ ทดสอบหมู่ฟังก์ชั่น การเตรียมอนุพันธ์สารอินทรีย์

     
4022401 เคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับเซรามิกส์
Physical Chemistry Ceramics
2(2-0)
  การเปลี่ยนแปลงของของแข็งของเหลวและแก๊ส การเปลี่ยนแปลงของของแข็งเมื่อเผาจนถึงจุดสุดตัว อ่อนตัวและหลอมสภาพของของเหลวเมื่อไหลตัว โดยไม่มีสารเคมีเป็นตัวช่วยไหล อิทธิพลและ บทบาทของแก๊สที่ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาเคมีเชิงฟิสิกส์ในเตาเผาผลิตภัณฑ์
     
4022404 เคมีเชิงฟิสิกส์ 1
Physical Chemistry 1
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :

- 4091604 คณิตศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์ 1
- 4091605 คณิตศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์ 2
3(3-0)
  ศึกษาสมบัติของแก๊ส กฎของอุณหพลศาสตร์ สมดุลเคมี สมดุลวัฎภาค กฎของวัฎภาค สารละลาย เคมีไฟฟ้า
     
4022405 ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 1
Physical Chemistry Laboratory 1
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับพาร์ทิชัน โคเอฟฟิเชียนต์ (Partition coefficient) ความร้อนของสารละลาย ความหนืด ดัชนีหักเห ความถ่วงจำเพาะ ปริมาณโมลาร์ของแก๊ส ค่าคงที่ของแก๊ส เคมีไฟฟ้า
     
4022414 เคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
Physical Chemistry for Agro-Industry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :

       - 4021110เคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
       - 4011301 ฟิสิกส์ทั่วไป 1
       - 4011302 ฟิสิกส์ทั่วไป 2
       - 4091401 แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1
       - 4092401 แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2
3(3-0)
  ศึกษาสมบัติของแก็ส และทฤษฎีจลน์ของแก็ส สมดุลเคมี กฎของวัฎภาค สมดุลวัฏภาค สารละลาย อุณหพลศาสตร์ เคมีไฟฟ้า
     
4022415 ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
Physical Chemistry Laboratory for Agro-Industry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022414 เคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
1(0-3)
  ปฏิบัติการตามเนื้อหาวิชาเคมีเชิงฟิสิกส์สำหรับอุตสาหกรรม-เกษตร
     
4022501 ชีวเคมีพื้นฐาน
Basic Biochemistry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022101 เคมีทั่วไป 2 หรือ 4021107 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน
3(2-2)
  โมเลกุลของสารในสิ่งมีชีวิต พร้อมทั้งสมบัติ หน้าที่และบทบาทของเซลล์ และองค์ประกอบของเซลล์ กรด เบส บัฟเฟอร์ในเซลล์ โปรตีน เอนไซม์ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด วิตามิน ฮอร์โมน การย่อยและการดูดซึมอาหาร เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต
     
4022502 ปฏิบัติการชีวเคมี
Biochemistry Laboratory
1(0-3)
  วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน : 4022501 ชีวเคมีพื้นฐาน

ปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจสอบสมบัติ การวิเคราะห์ทางคุณภาพโดยใช้เทคนิคทางโครมาโทกราฟี อิเล็กโทรใฟริซึส และสเปกโตรโฟโตมิตรีของโปรตีน คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดนิวคลิอิก เอนไซม์ และวิตามิน
     
4022503 ชีวเคมี 1
Biochemistry 1
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022309 เคมีอินทรีย์ 1
3(3-0)
  ความสำคัญของบัฟเฟอร์ในสิ่งมีชีวิต เทคนิคการทำชีวโมเลกุลให้บริสุทธิ์โดยวิธีต่าง ๆ เช่น การตกตะกอน การกรอง โครมาโทกราฟี การเคลื่อนย้ายสู่ขั้วไฟฟ้า (Electrophoresis) การหมุนเหวี่ยง (Centrification) ศึกษาองค์ประกอบของเซลล์โครงสร้าง สมบัติทางเคมี หน้าที่ทางชีวภาพของโปรตีน เอนไซม์ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดนิวคลีอิก ฮอร์โมน วิตามิน เกลือแร่
     
4022504 ปฏิบัติการชีวเคมี 1
Biochemistry Laboratory 1
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำให้ชีวโมเลกุลบริสุทธิ์ การทดสอบสมบัติทางเคมีและการวัดปริมาณโปรตีน เอนไซม์ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด กรดนิวคลีอิก และวิตามินบางชนิด
     
4022505 หลักชีวเคมี
Principles of Biochemistry
3(2-2)
  เซลล์ องค์ประกอบของเซลล์ บทบาทและหน้าที่ของเซลล์ความสำคัญของบัฟเฟอร์ในสิ่งมีชีวิตโมเลกุลของสารในสิ่งมีชีวิต ชีวโมเลกุลคาร์โบไฮเดรตโปรตีน ลิพิด กรดนิวคลีอิก ฮอร์โมน เอนไซม์ วิตะมิน และเกลือแร่ เมตะบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีน และของเหลวในร่างกาย การย่อยและการดูดซึมอาหาร
     
4022516 ชีวเคมีสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
Biochemistry for Agro-Industry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4021110 เคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
3(3-0)
  องค์ประกอบของเซลล์ชีวโมเลกุล คาร์โบไฮเดรท ลิปิค กรดอะมิโนและโปรตีน เอนไซม์ กรดนิวคลิอิก วิกีเมตาบอลิสม และการควบคุมเมตาบอลิสมของชีวโมเลกุลเหล่านี้
     
4022517 ปฏิบัติการชีวเคมีสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
Biochemistry Laboratory for Agro – Industry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :

- 4022516 ชีวเคมีสำหรับอุตสาห-กรรมเกษตร
1(0-3)
  ปฏิบัติการเตรียมสารละลายบัปเฟอร์ ตรวจสอบสมบัติทางเคมีของคาร์โบไฮ-เดรทลิปิค กรดอะมิโนและโปรนตีน ปฏิบัติการเกี่ยวกับจลนพลศาสตร์ของเอนไซม์
     
4022603 การวิเคราะห์อาหาร
Food Analysis
3(2-2)
  การวิเคราะห์สารอาหารประเภทต่าง ๆ ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การวิเคราะห์หาสัดส่วนขององค์ประกอบอาหารสำเร็จรูปเพื่อศึกษาสูตรอาหาร การวิเคราะห์น้ำเพื่อประโยชน์ในกระบวนการผลิต
     
4022610 คุณภาพวิเคราะห์
Qualitative Analysis
2(2-0)
  ศึกษาสมดุลเคมี ทฤษฎีการแตกตัวเป็นไอออน การแยกสลายด้วยน้ำ ค่าคงตัวของผลคูณการละลาย การวิเคราะห์กึ่งจุลภาค คุณภาพวิเคราะห์ของไอออน อนินทรีย์ สมดุลและแกมโพเทอริซึมและหลักการทดสอบโดยเปลวไฟ
     
4022611 ปฏิบัติการคุณภาพวิเคราะห์
Qualitative Analysis Laboratory
2(0-4)

  หลักการวิเคราะห์กึ่งจุลภาค ทักษะการวิเคราะห์ทางคุณภาพของสาร อนินทรีย์ แคตไอออน แอนไอออน สารประกอบ ของผสม โลหะและโลหะผสม
     
4022612 ปริมาณวิเคราะห์
Quantitative Analysis
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4021105 เคมี 1
3(3-0)
  ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ การวิเคราะห์ปริมาณโดยน้ำหนัก และวิเคราะห์ปริมาณโดยปริมาตรของปฏิกิริยากรด เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาการตกตะกอนและปฏิกิริยาการเกิดสารเชิงซ้อน
     
4022613 ปฏิบัติการปริมาณวิเคราะห์
Quantitative Analysis Laboratory
1(0-3)
 

ปฏิกิริยาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ปริมาณของสารโดยน้ำหนักและการวิเคราะห์ปริมาณโดยปริมาตร

     
4022614 การวิเคราะห์เคมีด้วยอุปกรณ์ 1
Instrumental Analysis 1
3(3-0)
  ศึกษาหลักการ ส่วนประกอบของเครื่องมือและการประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์เคมีโดยอินฟาเรด อัลตราไวโอแลต วิสิเบิล และอะตอมมิกแอบซอฟชัน สเปกโทรโฟโตรมิเตอร์ เอกซ์เรย์ คริสตัลโลกราฟี การวิเคราะห์โดยวิธีทางกัมมันตะรังสี การวิเคราะห์ทางอุณหภูมิ
     
4022615 ปฏิบัติการวิเคราะห์เคมีด้วยอุปกรณ์ 1
Instrumental Analysis Laboratory 1
1(0-3)
  ปฏิบัติการวิเคราะห์ด้วยอินฟาเรด อัลตราไวโอเลต วิสิเบิลอะตอมมิกแอนซอฟซัน สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ การวิเคราะห์ การอุณหเคมี
     
4022616 เคมีวิเคราะห์
Analytical Chemistry
3(3-0)
  บทนำเกี่ยวกับเคมีวิเคราะห์ หลักการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณ การคำนวณปริมาณสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ ทฤษฎีและการประยุกต์การวิเคราะห์เชิงปริมาณขั้นพื้นฐานของการวิเคราะห์โดยปริมาตรและการชั่งน้ำหนัก การวิเคราะห์โดยปริมาตรจะเน้นเกี่ยวกับการไทเทรต กรด-เบส การไทเทรตแบบตกตะกอน การไทเทรตแบบรีดอกซ์ และการไทเทรตแบบสารประกอบเชิงซ้อน ทั้งในสารละลายน้ำและไม่ใช่น้ำ การวิเคราะห์โดยการชั่งน้ำหนักจะรวมทั้งการตกตะกอนและการระเหย
     
4022617 ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์
Analytical Chemistry Laboratory
1(0-3)
  การใช้อุปกรณ์เกี่ยวกับการวัดปริมาตร การวิเคราะห์หาปริมาณโดยการวัดปริมาตร การไทเทรตสารละลายประเภท ต่าง ๆ การวิเคราะห์หาปริมาณ โดยน้ำหนักโดยใช้ตัวตกตะกอนอินทรีย์และอนินทรีย์ การเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์
     
4022618 การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1
Instrumental Methods of Chemical Analysis 1
3(3-0)
  ศึกษาหลักการ ส่วนประกอบของเครื่องมือและการประยุกต์ทาง สเปกโต-รสโกปีที่เกี่ยวกับการดูดกลืนแสง และการคายแสงของอะตอมและโมเลกุล เช่น การวิเคราะห์โดยอินฟาเรด อัลตราไวโอเลต วิสิเบิล การวัดความขุ่นโดยวิธีเนฟโลเมทรี เทอร์บีดีเมทรี และอะตอมมิกแอบซอฟซัน อะตอมมิกอีมิสซัน เฟลมอิมิสซัน สเปกโตรโฟโตมิเตอร์ ฟลูออเรสเซนต์ และ นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนสเปกโตรสโกปี
     
4022619 ปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1
Instrumental Methods of Chemical Analysis Laboratory 1
1(0-3)
  ปฏิบัติการวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับวิชา การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1
     
4022620 เคมีวิเคราะห์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
Analytical Chemistry for Agro-Industry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน คือ วิชา :
- 4021110 เคมีทั่วไปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
3(3-0)
  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ความเข้มข้นของสารละลาย มวลสารสัมพันธ์ และสมดุลเคมี การวิเคราะห์ปริมาณโดยน้ำหนัก การวิเคราะห์ปริมาณโดยปริมาตรของปฏิกิริยากรด เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาตกตะกอนและปฏิกิริยาของสารเชิงซ้อน การวิเคราะห์ในเชิง คุณภาพทางเคมี
     
4022621 ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
Analytical Chemistry Laboratory for Agro-Industry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน คือ วิชา :
- 4022620 เคมีวิเคราะห์สำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
2(0-6)
  หลักการเบื้องต้นในการวิเคราะห์ การเลือกเครื่องมือ การเตรียมสารละลาย การวิเคราะห์ทางคุณภาพของไอออนแบบกึ่งจุลภาค การวิเคราะห์หาปริมาณทางน้ำหนักและปริมาตร การวิเคราะห์ทางคุณภาพและปริมาณโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย
     
4022701 เคมีประยุกต์
Applied Chemistry
3(2-2)
 

สารเคมีที่ใช้ในบ้านบางชนิด เช่น การทำสบู่ ยาสีฟัน เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์พลาสติกชนิดต่าง ๆ ศึกษาสมบัติของสารผสมแต่ละชนิดที่จะนำไปใช้ในการผลิตสารต่าง ๆ ปริมาณสารปนปลอมในหัวแชมพู ศึกษากระบวนการผลิตใน อุตสาหกรรมของสารบางชนิด เทคนิคต่าง ๆ ทางอุตสาหกรรม เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดีและมีผลผลิตสูง การประยุกต์อุณหพลศาสตร์ในทางอุตสาหกรรม การนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่

     
4022702 กระบวนการทางเคมีอุตสาหกรรม
Process in Industrial Chemistry
2(1-2)
  กระบวนการทางเคมีอุตสาหกรรมของการผลิตเส้นใย เยื่อกระดาษ และการทอ เยื่ออาหาร สี ยาง เซรามิกส์และพลาสติก
     
4022704 เคมีอาหาร 1
Food Chemistry 1
3(2-2)
  กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมอาหาร เคมีทางโภชนาการ การวัดปริมาณ ความต้องการแคลอรี่ของคนและสัตว์ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน กรดอะมิโน ไขมัน แร่ธาตุ และวิตามินที่จำเป็นต่อร่างกาย
     
4022706 กระบวนการแปรรูปยาง
Rubber Processing
3(3-0)
  เครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการแปรรูปยาง การผสมสารเคมีเข้าไปในยางโดยใช้ ลูกกลิ้งและเครื่องผสมแบบปิด การเตรียมยางผสมสารเคมีเพื่อการแปรรูป การแปรรูปโดยวิธีการเอกซ์ทรูซัน การรีดให้เป็นแผ่น การเคลือบผ้าใบด้วยยาง การยืดยางเข้าพิมพ์ การวัลคาไนซ์ยางโดยใช้น้ำและอากาศร้อน การวัลคาไนซ์ยางแผ่นต่อ โดยใช้เกลือเหลว ฟลูอิดไดส์เบด คลื่นไมโครเวฟและอื่น ๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการแปรรูป เช่น อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของยางและ สารเคมี ปัญหาการผลิตและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในกระบวนการแปรรูปยาง
     
4022707 ผลิตภัณฑ์ยาง
Rubber Products
2(2-0)
  อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์จากยาง เช่น ยางรัด ยางลบ ยางในรถจักรยาน รถจักรยานยนต์และรถยนต์ รองเท้ายาง กระเป๋าน้ำร้อน ยางรถยนต์ ยางที่ใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องยนต์และอื่น ๆ
     
4022708 เทคโนโลยีลาแท็กซ์
Latex Technology
3(2-2)
  น้ำยางธรรมชาติ สมบัติทางกายภาพและเคมี การเก็บรักษาสารเคมีที่ใช้น้ำยางข้น น้ำยางสังเคราะห์ วิธีสังเคราะห์ ชนิดของยางสังเคราะห์ การทดสอบคุณภาพของน้ำยาง สารเคมีที่ใช้ผสมน้ำยางและการเตรียมสารเคมีที่ใช้ผสมน้ำยาง วิธีการทำผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง เช่น ลูกโป่ง หัวนม ยางฟอก น้ำ กาวยาง
     
4022709 สารเคมีผสมยาง
Rubber Additives
3(3-0)
  ชนิดของสารคเมีที่ใช้ผสมในยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ เพื่อให้ได้ยางที่มีสมบัติตามต้องการ เช่น สารวัลคาไนซ์ สารเร่ง สารกระตุ้น สารเพิ่ม สารป้องกันยางเสื่อม สารเพิ่มความแข็งแรง สารทำให้ยางนิ่ม เป็นต้น
     
4022710 ปฏิบัติการวิเคราะห์ยางและสารเคมีผสมยาง
Analysis of Rubber and Rubber Additives
2(0-4)
  การวิเคราะห์ยางดิบ หาปริมาณของสารเพิ่มในยาง วิเคราะห์สารเคมีในยางที่สกัดได้ด้วยแอซีโตน คลอโรฟอร์ม อีเทอร์ แอลกอฮอล์และน้ำ ทดลอง วิเคราะห์ปริมาณและคุณภาพของพอลิเมอร์ชนิดต่าง ๆ การทดสอบระหว่างการผลิตและ ผลิตภัณฑ์ที่ได้
     
4022711 การออกแบบผลิตภัณฑ์ยางเบื้องต้น
Primary Rubber Product Design
3(2-2)
  ศึกษาแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ทำจากยาง
     
4022712 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยียาง
Rubber Technology Advancement
2(2-0)
  ความก้าวหน้าด้านการวิเคราะห์ยาง การทำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ การแปรรูปและเทคนิคต่าง ๆ
     
4022715 ปฏิบัติการแปรรูปยาง
Rubber Processing Laboratory
2(0-4)
  ปฏิบัติการผลิตยางโดยใช้ลูกกลิ้ง และเครื่องผสมยางแบบปิด การเอกซ์ทรู-ซัน การทดสอบยางที่ยังไม่วัลคาไนซ์ การอัดยาง การอบยางแบบไอน้ำ และแบบอากาศร้อน
     
4022716 ปฏิบัติการออกสูตรยางเพื่อคุณสมบัติเฉพาะ
Rubber Formula Extraction for Qualitative of Specific Property
2(0-4)
  ปฏิบัติการหาสูตรยาง เพื่อให้ได้ยางที่มีคุณสมบัติเฉพาะตามต้องการ เช่น ทนทานต่อการสึกหรอ ทนทานต่อการหักงอ ทนความร้อน ทนต่อการออกซิไดส์ มีอายุการใช้งานนานขึ้น ฯลฯ โดยใช้ทั้งยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์
     
4022717 ปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์ยาง
Rubber Processing Laboratory
2(0-4)
  ปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์ยาง เช่น ยางลบ ยางสีขาว ยางรัด ยางแหวน ยางปะเก็น ยางท่อ ยางขอบกระจก ยางรถและยางหล่อดอก
     
4022718 เทคโนโลยีน้ำยาง
Latex Technology
3(2-2)
  น้ำยางธรรมชาติ สมบัติทางกายภาพและทางเคมี การรักษาสภาพ น้ำยางข้น น้ำยางสังเคราะห์ การทดสอบคุณภาพยาง สารเคมีผสมน้ำยาง การเตรียมและการผสมสารเคมีในน้ำยาง วิธีการทำผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง เช่น ถุงมือ ถุงยางอนามัย ลูกโป่ง ฟองยาง สายยางยืด การหล่อยางและกาวยาง เป็นต้น ปฏิบัติการทดสอบ คุณภาพน้ำยาง การเตรียมสารเคมี การผสมสารเคมีลงไปในน้ำยาง วิธีการทำผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง
     
4022719 ปฏิบัติการเทคโนโลยียาง 1
Rubber Technology Lab 1
2(0-4)
  ปฏิบัติการผสมยางโดยใช้ลูกกลิ้งและเครื่องผสมยางแบบปิด การเอกซ์ทรู - ซัน การทดสอบยางที่ยังไม่วัลคาไนซ์ การอัดยาง การอบยางแบบไอน้ำ และแบบอากาศร้อน
     
4022720 ปฏิบัติการเทคโนโลยียาง 2
Rubber Technology Lab 2
2(0-4)
  ปฏิบัติการหาสูตรยาง เพื่อให้ได้ยางที่มีสมบัติเฉพาะตามต้องการ เช่น ทนทานต่อการสึกหรอ ทนทานต่อการหักงอ ทนความร้อน ทนต่อการออกซิไดส์ มีอายุการใช้งาน นานขึ้น ฯลฯ โดยใช้ทั้งยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์
     
4022721 ปฏิบัติการเทคโนโลยียาง 3
Rubber Technology Lab 3
2(0-4)
  ปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์ยาง เช่น ยางลบ ยางสีขาว ยางรัด ยางแหวน ยางประเก็น ยางท่อ ยางขอบกระจก ยางรถและยางหล่อดอก
     
4022801 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยียาง 1
Preparation for Professional Experiences in Rubber Technology 1
2(90)
  จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียนก่อนออกฝึกประสบ-การณ์วิชาชีพในด้านการรับรู้ลักษณะและโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาตัวผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงาน วิชาชีพนั้น ๆ
     
4022802 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยียาง 1
Field Experiences in Rubber Technology 1
3(250)
  ปฏิบัติงานสนามหรือในห้องปฏิบัติการเพื่อให้เกิดความชำนาญในด้านทักษะ ตลอดจน ทัศนศึกษาในแหล่งสำคัญต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการยาง
     
4022803 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคมีปฏิบัติ 1
Preparation for Professional Experiences in Chemistry Technology 1
2(90)
  จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียนก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในด้านการรับรู้ลักษณะและโอกาสของผู้ประกอบอาชีพ การพัฒนาตัวผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยการกระทำในสถานการณ์หรือ รูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพนั้น ๆ
     
4022804 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคมีปฏิบัติ 1
Field Experiences in Chemistry Technology 1
3(250)
  ฝึกตามโรงงานอุตสาหกรรมทั้งในท้องถิ่นและแหล่งอื่น ๆ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของภาควิชาเคมี
     
4022901 โครงการพิเศษยาง
Special Project in Rubber
3(2-2)
  ศึกษาในลักษณะการค้นคว้า ทำรายงานหรือปฏิบัติงานเฉพาะกิจเกี่ยวข้องกับการจัดการยาง
     
4022902 สัมมนาเทคโนโลยียาง
Seminar in Rubber Technology
2(2-0)
  สัมมนาการฝึกงานในโรงงานอุตสาหกรรมและสัมมนาวิจัยทางเทคโนโลยีการยาง
     
4023101 เคมีทั่วไป 3
General Chemistry 3
3(2-2)
  ความสำคัญของวิชาเคมี การจำแนกสาร สมบัติของธาตุ สารประกอบ ของผสม อะตอม โครงสร้างของอะตอม โมเลกุล หลักเบื้องต้นของพันธะเคมี การเปลี่ยนแปลงของสาร ปฏิกิริยาเคมีอย่างง่าย กรด เบส เกลือ อินดิเคเตอร์ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับสารประกอบอินทรีย์ ความสัมพันธ์ของสารอาหารต่าง ๆ ต่อร่างกาย พลังงานจากแอลกอฮอล์ ถ่านหิน หินน้ำมัน แก๊สธรรมชาติ ปิโตรเลียม ดวงอาทิตย์ พลังงานนิวเคลียร์ อุตสาหกรรมที่สำคัญในประเทศไทย อุตสาหกรรมในท้องถิ่น
     
4023201 เคมีอนินทรีย์ 1
Inorganic Chemistry 1
3(2-2)
  ปริมาณสารสัมพันธ์ โครงสร้างอะตอม สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ สมบัติของสารละลาย ทฤษฎีที่เชิงอธิบายพันธะเคมี สมดุลเคมี ผลของไอออนร่วม กรด เบส เกลือ การแยกสารสลายด้วยน้ำ ปัฟเฟอร์ เคมีของสารอนินทรีย์ในตัวทำละลายที่ไม่ใช่น้ำ เคมีไฟฟ้าเบื้องต้น เคมีนิวเคลียร์เบื้องต้น
     
4023202 เคมีอนินทรีย์ 2
Inorganic Chemistry 2
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022201 เคมีอนินทรีย์ 1
3(3-0)
  ศึกษาเกี่ยวกับเคมีของสารเชิงซ้อนในด้านโครงสร้าง การเรียกชื่อ ไอโซเมอร์ การเตรียมสารเชิงซ้อน พันธะในสารเชิงซ้อน ทฤษฎีเวเลนซ์บอนด์ ทฤษฎีคริสตัลฟิลด์ ทฤษฎีลิแกนด์ฟิลด์ สมบัติทางกายภาพของสารเชิงซ้อนและปฏิกิริยาเคมีของสารเชิงซ้อน สมมาตร และทฤษฏีกลุ่ม
     
4023203 ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 2
Inorganic Chemistry Laboratory 2
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับปฏิกิริยาของไอออนโลหะ การเตรียมสารอนินทรีย์ เตรียมสารประกอบเชิงซ้อน หาพลังงานสปลิททิง (Splitting energy) ของสารประกอบเชิงซ้อน สมมาตร และทฤษฎีกลุ่ม
     
4023204 เคมีอนินทรีย์ 3
Inorganic Chemistry 3
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4023202 เคมีอนินทรีย์ 2
3(3-0)
  เคมีของธาตุแทรนซิชัน แลนทาไนด์และแอกติไนด์ เคมีของสารประกอบออร์กาโนเมทัลลิก
     
4023205 ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 3
Inorganic Chemistry Laboratory 3
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับสารประกอบเชิงซ้อนของโลหะแทรนซิชัน เช่น การเตรียมและการตรวจสอบสมบัติ
     
4023206 เคมีออร์แกโนเมทาลิก
Organometalic Chemistry
2(2-0)
 

หลักการเบื้องต้นของการก่อเกิดพันธะและโครงสร้างของสารประกอบเชิงซ้อนออร์แกโนแทรนซิชัน ปฏิกิริยาแทนที่ลิแกนด์ ซึ่งโคออร์ดิเนตกับโลหะ ออกซิเดทีฟแอดดิชัน และ รีดักทีฟอิลิมิเนชัน ปฏิกิริยาการสอดแทรกภายในโมเลกุล ปฏิกิริยาการแทนที่แบบนิวคลิโอฟิลิกและอิเลคโตรฟิลิกบนลิแกนด์ ซึ่งโคออร์ดิเนตอยู่กับโลหะแทรนซิชัน การเร่งในปฏิกริยาแบบเอกพันธ์ในปฏิกิริยาการเติมไฮโดรเจน ตัวเร่งในปฏิกิริยาโพลิเมอไรเชชันของพวกโอเลฟินและอะเซติเลชัน การประยุกต์ของสารประกอบเชิงซ้อนออร์แกโนแทรนซิชันในการสังเคราะห์สารอินทรีย์

     
4023301 เคมีอินทรีย์ 2
Organic Chemistry 2
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022307 เคมีอินทรีย์ 1
3(3-0)
  ศึกษาโครงสร้าง สมบัติ การเตรียมปฏิกิริยาชนิดของปฏิกิริยา พลังงาน ของปฏิกิริยา และกลไกของปฏิกิริยาของสารอินทรีย์ที่มีไนโตรเจน กำมะถันและฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ สารประกอบพอลินิวเคลียร์อะโรเมติก สารเฮทเทอโรไซคลิกชนิดต่าง ๆ สารอินทรีย์ที่พบในธรรมชาติ สารออร์แกโนเมทัลลิก
     
4023302 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2
Organic Chemistry Laboratory 2
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับสารอินทรีย์ที่มีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส กำมะถัน เป็น องค์ประกอบ เช่น ปฏิกิริยาไนเตรชัน ปฏิกิริยาฟรีเดล-คราฟ ปฏิกิริยาเรืองแสง การเตรียมสารประกอบเฮทเทอโร ไซคลิก เช่น การบูร ยาซัลฟา การเตรียมกรีญาร์รีเอเจนต์
     
4023304 เคมีอินทรีย์ 3
Organic Chemistry 3
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022307 เคมีอินทรีย์ 1
3(3-0)
  คาร์บอเนียมไอออน คาร์แบนไอออน อนุมูลเสรีและคาร์บีน การจัดเรียงตัวในโมเลกุล กลไกของปฏิกิริยาชนิดต่าง ๆ และวิธีการตรวจสอบไอออนที่กล่าวข้างต้น
     
4023307 สเปกโทรสโกปีสำหรับเคมีอินทรีย์
Spectroscopy of Organic Chemistry
2(2-0)
  การหาโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ โดยวิธีสเปกโทรสโกปี เช่น อินฟราเรด อัลตราไวโอเลต วิสิเบิล นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์ แมสสเปกโทรสโกปี
     
4023308 อินทรีย์สังเคราะห์
Organic Synthesis
2(2-0)
  การออกแบบสังเคราะห์สารอินทรีย์ โดยการวิเคราะห์แบบย้อนกลับและการสังเคราะห์สารอินทรีย์ที่น่าสนใจ
     
4023309 ปฏิบัติการอินทรีย์สังเคราะห์
Organic Synthesis Laboratory
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับการสังเคราะห์สารอินทรีย์บางชนิด
     
4023401 เคมีเชิงฟิสิกส์ 2
Physical Chemistry 2
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022404 เคมีเชิงฟิสิกส์ 1
3(3-0)
  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาเชิงซ้อนจลนพลศาสตร์ของโมเลกุล โครงสร้างของอะตอมและโมเลกุล โครงสร้างของอะตอมและโมเลกุล โฟโตเคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีพื้นผิว อุณหพลศาสตร์เชิงสถิติ
     
4023402 ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 2
Physical Chemistry Loboratory 2
1(0-3)
 

ปฏิบัติการเกี่ยวจลนพลศาสตร์ อัตราการเกิดปฏิกิริยา อันดับปฏิกิริยา ความตึงผิว สเปกโทรสโกปี และไฟฟ้าเคมี

     
4023501 ชีวเคมี 2
Biochemistry 2
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022503 ชีวเคมี 1
3(3-0)
  ศึกษากระบวนการย่อย การดูดซึมเมแทบอลิซึมและการควบคุมวิถีเมแทบ - อลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ลิพิด โปรตีน กรดนิวคลีอิกและเกลือแร่
     
4023502 ปฏิบัติการชีวเคมี 2
Biochemistry Laboratory 2
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับจลนพลศาสตร์ของเอนไซม์และเมแทบอลิซึมของชีวโมเลกุล
     
4023603 การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2
Instrumental Methods of Chemical Analysis 2
3(3-0)
  ศึกษาหลักการ และการประยุกต์การวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้าการแยก การสกัด หลักการและการประยุกต์ทางโครมาโทกราฟี แมสสเปกโตรสโกปี
     
4023604 ปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2
Instrumental Methods of Chemical Analysis Laboratory 2
1(0-3)
  การวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า เทคนิคการแยกและสกัดด้วยตัวทำละลาย การทำให้บริสุทธิ์โดยวิธีโครมาโทกราฟี
     
4023605 การวิเคราะห์ดินและปุ๋ย
Analysis of Soil and Fertilizer
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022616 เคมีวิเคราะห์
3(2-2)
  การเก็บตัวอย่าง การเตรียมตัวอย่างดินและปุ๋ยเพื่อการวิเคราะห์ทางคุณภาพและปริมาณ กรรมวิธีการวิเคราะห์ทางเคมี หลักการใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ การแปลความหมายของผลการวิเคราะห์
     
4023702 การผลิตอุปกรณ์การสอนเคมี
Teaching Aid Construction for Chemistry
3(2-2)
  ความสำคัญของอุปกรณ์ แนวคิดในการผลิตอุปกรณ์ งานไม้ งานโลหะ งานพลาสติก งานแก้ว อุปกรณ์เกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย งานโสตทัศนูปกรณ์ วัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ งานซ่อมแซมอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ การผลิตอุปกรณ์โดยใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น
     
4023703 เสริมทักษะปฏิบัติการเคมี
Chemistry Laboratory Skill Improvement
2(1-3)
  ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี ประเภทของสารเคมี การเก็บและการเลือกใช้สารเคมี อุปกรณ์เครื่องแก้วและพลาสติก การเตรียมรีเอเจนต์ การคำนวณในการเตรียม สารละลาย เทคนิคการทดลองด้วยเครื่องมือมูลฐานที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมี ขั้นตอนในการ ดำเนินงานในห้องปฏิบัติการเคมี
     

4023706

เคมีอุตสาหกรรม
Industrial Chemistry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022404 เคมีเชิงฟิสิกส์ 1
3(3-0)
  ศึกษาการทำงานโดยหลักทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมเคมียูนิตโอเปอเรชัน กลศาสตร์ของของไหล การขนส่งและการเก็บของไหล การผลิตความร้อน การถ่ายเท และการเก็บรักษา กระบวนการทำผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เช่น การผลิตปุ๋ย การผลิตกรดซัลฟิวริก และสารอื่น ๆ ที่สำคัญ
     
4023707 ยูนิตโอเปอเรชัน
Unit Operation
3(3-0)
  ศึกษาเกี่ยวกับหน่วย มิติ ของไหล การผสมสารตะกอน การกรองในอุตสาหกรรม การลดขนาดของแข็ง การขนส่งของแข็งโดยใช้ลม การถ่ายโอนความร้อน เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน การผลิตความร้อน การผลิตไอน้ำ การละลาย การระเหย การตกผลึก รีเวิรสออสโมซีส อัตราฟิลเตรชัน การดูดซึม การดูดซับ การอบแห้ง การสกัดแยกสาร
     
4023708 เคมีสภาวะแวดล้อม
Environmental Chemistry
3(3-0)
  มลพิษทางน้ำ ดินและอากาศ การสุ่มตัวอย่างน้ำ ดิน การวิเคราะห์น้ำเสีย ดิน พืช ยาฆ่าแมลง โลหะหนักในดิน น้ำ อากาศ
     
4023709 ปฏิบัติการเคมีสภาวะแวดล้อม
Environmental Chemistry Laboratory
1(0-3)
  การวิเคราะห์หาค่าออกซิเจนที่ละลายในน้ำ ค่าความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี ค่าความต้องการออกซิเจนทางเคมี การวิเคราะห์หาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และกำมะถันในดิน การวิเคราะห์ยาฆ่าแมลง โลหะหนักในพืช ในดิน ในน้ำ และในอากาศ
     
4023710 เคมีพอลิเมอร์เบื้องต้น
Introduction to Polymer Chemistry
3(3-0)
  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพอลิเมอร์ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ไรเซชัน การสังเคราะห์พอลิเมอร์ กลไกของการเกิดพอลิเมอร์ การหาขนาดโมเลกุล ทดสอบสมบัติของพอลิเมอร์
     
4023711 เคมีอาหาร
Food Chemistry
3(3-0)
  การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและสมบัติทางเคมีของสารอาหารในกระบวนการ รวมทั้งสารเติมแต่งสี กลิ่น รส และสารถนอมอาหาร
     
4023712 ปฏิบัติการเคมีอาหาร
Food Chemistry Laboratory
1(0-3)
  ปฏิบัติการวิเคราะห์ปริมาณและของแข็งทั้งหมด น้ำตาล แอลกอฮอล์ สารอาหารความเป็นกรด เปอร์เซนต์ความชื้น การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหารทางเคมีและทางจุลินทรีย์ สารปนเปื้อน
     
4023713 เทคโนโลยีเกี่ยวกับปิโตรเลียม

Petroleum Technology
2(2-0)
  ธรรมชาติและองค์ประกอบของปิโตรเลียม กระบวนการการกลั่นลำดับส่วน กระบวนการกำจัดกำมะถัน และกระบวนการต่างๆ ในผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกปิโตรเลียม
     
4023714 อุตสาหกรรมเคมีปิโตรเลียม
Petrochemical Industry
2(2-0)
  ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกปิโตรเลียม และการทำอุตสาหกรรมจากส่วนต่าง ๆ ของปิโตรเลียม เช่น พลาสติก สี ปุ๋ย
     
4023715 เคมีเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
Chemistry of Fuels
2(2-0)
  ชนิดของน้ำมันเชื้อเพลิง สมบัติทางกายภาพ และเคมีของน้ำมันเชื้อเพลิง การ ตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพของน้ำมันเชื้อเพลิง
     
4023716 เทคโนโลยีเซรามิกส์ 1
Ceramics Technology 1
3(3-0)
  ความเป็นมาของเซรามิกส์ถึงปัจจุบัน บทบาทที่สำคัญของการทำผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา (Pottery) ในส่วนขั้นตอนของการผลิตและ ความรู้ความเข้าใจสมบัติทางเคมี และกายภาพที่เกี่ยวกับวัตถุดิบ ดินปั้นวัสดุ เคลือบ สีเขียน การขึ้นรูป การตกแต่ง การตากแห้ง และการเผา สำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา คุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและการทดสอบ
     
4023717 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเซรามิกส์ 1
Ceramics Technology Laboratory 1
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับวัตถุดิบ ดินปั้น เคลือบ สีเขียน การขึ้นรูป การตกแต่ง การตากแห้งและการเผา สำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา
     
4023718 เทคโนโลยีเซรามิกส์ 2
Ceramics Technology 2
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4023716 เทคโนโลยีเซรามิกส์ 1
3(3-0)
  การศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจและความคุ้นเคยในเชิงปฏิบัติการได้เหมาะสม เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเซรามิกส์ประเภทวัสดุโครงสร้าง เช่น อิฐ กระเบื้อง เป็นต้น เครื่อง สุขภัณฑ์ วัสดุทนไฟ วัสดุฉนวนไฟฟ้า วัสดุเคลือบ วัสดุขัด ซีเม็นต์ แก้วและเซรามิกส์ เทคนิคการผลิต สมบัติทางเคมีและกายภาพ การทดสอบและมาตรฐานอุตสาหกรรมของ ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์เหล่านั้น
     
4023719 ปฏิบัติการเทคโนโลยีเซรามิกส์ 2
Ceramics Technology Laboratory 2
1(0-3)
  ปฏิบัติการทดสอบสมบัติทางเคมีและกายภาพวัสดุ โครงสร้าง เช่น อิฐ กระเบื้อง เป็นต้น เครื่องสุขภัณฑ์ วัสดุทนไฟ วัสดุฉนวนไฟฟ้า วัสดุเคลือบ วัสดุขัด ซีเม็นต์ แก้วและเซรามิกส์ใหม่
     
4023720 เทคโนโลยีการเคลือบผิว
Plating Technology
3(3-0)
  หลักการชุบผิวโลหะด้วยไฟฟ้า เครื่องมือและอุปกรณ์การชุบ การทำความสะอาดผิวก่อนชุบ การชุบผิวทองแดง นิกเกิล โครเมียม ตะกั่ว ดีบุก ทองเหลือง เงิน ทอง โรเดียม แพลทินัม การชุบพลาสติกด้วยโลหะ ความปลอดภัยในการชุบ
     
4023721 ปฏิบัติการเทคโนโลยีการเคลือบผิว
Plating Technology Laboratory
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับการชุบผิวด้วยทองแดง นิกเกิล โครเมียม ตะกั่ว ดีบุก ทองเหลืองเงิน ทอง โรเดียม แพลทินัม การชุบพลาสติกด้วยโลหะ
     
4023722 เคมีเกี่ยวกับสี
Chemistry of Colour
3(3-0)
  สารที่ทำให้เกิดสี ชนิดและองค์ประกอบของสี การเคลือบผิว การผลิตสีเพื่อใช้ในงานด้านต่าง ๆ เช่น สีย้อมผ้า สีพิมพ์ การควบคุมคุณภาพสี
     
4023723 ปฏิบัติการเคมีเกี่ยวกับสี
Chemistry of Colour Laboratory
1(0-3)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพของสี การย้อม
     
4023724 เคมีเกี่ยวกับเครื่องสำอาง
Chemistry of Cosmetics
3(3-0)
  องค์ประกอบการผลิต ประโยชน์และพิษที่เกิดจากเครื่องสำอาง การวิเคราะห์เครื่องสำอาง เครื่องสำอางเกี่ยวกับผม เล็บ หน้า ผิว ยาระงับกลิ่นตัว สบู่ และผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ
     
4023725 เคมีเกี่ยวกับน้ำหอม
Perfume Chemistry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022307 เคมีอินทรีย์ 1
2(2-0)
  หลักการสกัดน้ำหอมจากดอกไม้ ส่วนประกอบของต้นไม้ การสังเคราะห์น้ำหอม อุตสาหกรรมน้ำหอม
     
4023726 ปฏิบัติการเคมีเกี่ยวกับน้ำหอม
Perfume Chemistry Laboratory
2(0-4)
 

ปฏิบัติการสกัดน้ำหอมจากดอกไม้และการสังเคราะห์น้ำหอม

   
4023728 ปฏิบัติการเป่าแก้ว
Glass Blowing Laboratory
2(0-4)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้เปลวออกซี และผลิตอุปกรณ์ เช่น บีกเกอร์ ขวดก้นกลม เครื่องควบแน่น เครื่องมือที่ทำด้วยแก้วแบบต่าง ๆ โดยใช้แก้วโซดาและแก้วบอโรซิลิเกต
     
4023729 เคมีของคอลลอยด์
Colloid Chemistry
3(3-0)
  ระบบของคอลลอยด์ สมบัติทางแสงของคอลลอยด์ จลนพลศาสตร์ของคอลลอยด์ การดูดซึม การดูดกลืน สมบัติทางไฟฟ้าของคอลลอยด์ การเตรียมคอลลอยด์ การทำให้บริสุทธิ์ ความอยู่ตัว การรวมตัวของคอลลอยด์ คอลลอยด์กับสารเซอร์แฟกแตนท์
     
4023730 พอลิเมอร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์
Polymer and Polymer Technology
3(3-0)
  ชนิดและคุณสมบัติของโพลิเมอร์ สารเคมีสำหรับโพลิเมอร์ การผสมสารเคมี เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ เทคนิคการแปรรูปโพลิเมอร์ เช่น การอัดฉีด การทำแผ่นฟิล์ม การทำโฟม การทำเส้นใย การอัดแบบ การฉีด การหล่อและการออกแบบพิมพ์ เป็นต้น
     
4023731 ปฏิบัติการวิเคราะห์พอลิเมอร์และสารเคมีผสมพอลิเมอร์
Analysis of Polymer and Additives
2(0-4)
  การวิเคราะห์พอลิเมอร์ การหาชนิดและปริมาณสารเคมีในพอลิเมอร์ เช่น สารเพิ่มสารแอนตีออกซิแดนท์ เป็นต้น
     
4023732 กาวและการติดประสานด้วยกาว
Adhesive and Adhesion
2(2-0)
  หลักการยึดเกาะระหว่างสาร สมบัติและลักษณะผิวของสาร ทฤษฎีการติดประสานกาวชนิดต่าง ๆ สูตรและสารที่ใช้ในการทำกาว
     
4023733 ปฏิบัติการเทคโนโลยีพอลิเมอร์
Polymer Technology Lab
2(0-4)
  ปฏิบัติการเกี่ยวกับการแปรรูปพอลิเมอร์ เช่น การฉีด การอัดแบบ การรีด การอัดรีด การทำโฟม การทำเส้นใย การหล่อ เป็นต้น ปฏิบัติการเกี่ยวกับการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร์ เช่น สมบัติทางกล สมบัติทางความร้อน สมบัติทางแสง เป็นต้น
     
4023801 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคมี 3
Preparation for Professional Experience in Chemistry 3
2(90)
 

จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียนก่อนออกฝึกประสบ-การณ์วิชาชีพในด้านการรับรู้ลักษณะและโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาตัวผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยการกระทำในสถานการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพนั้นๆ

     
4023802 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ 3
Preparation for Professional Experiences in Rubber and PolymerTechnology 3
2(90)
  จัดให้มีกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของผู้เรียนก่อนออกฝึกประสบ-การณ์วิชาชีพในด้านการรับรู้ลักษณะ และโอกาสของการประกอบอาชีพ การพัฒนาตัวผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพ โดยกระทำในสภาพการณ์หรือรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานในวิชาชีพนั้น ๆ
     
4023902 วิทยาการใหม่ทางเคมี
New Technology in Chemistry
2(2-0)
  วิทยาการใหม่ในเคมีที่กำลังอยู่ในความสนใจ
     
4023904 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในทางเคมี
Computer Application in Chemistry
2(1-2)
  เป็นการนำความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ร่วมกับการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ศึกษาและแก้ปัญหาทางเคมี การวิเคราะห์ข้อมูลและการศึกษาเคมี ทฤษฎีภาคปฏิบัติ จะเน้นการฝึกใช้โปรแกรมสำเร็จรูปตามเนื้อหาของภาคบรรยาย
     
4024201 เคมีอนินทรีย์ 2
Inorganic Chemistry 2
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022201 เคมีอนินทรีย์ 1
3(2-2)
  สารประกอบไอออนิก สารประกอบโคแวเลนต์ สารประกอบโคออร์ดิเนต สมบัติของธาตุกลุ่มเอ และกลุ่มบีในตารางธาตุ โลหะและโลหะผสม สารกี่งตัวนำ
     
4024204 วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีอนินทรีย์
New Technology Inorganic Chemistry
2(2-0)
 

วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีอนินทรีย์ที่กำลังอยู่ในความสนใจ

     
4024301 เคมีอินทรีย์ 2
Organic Chemistry 2
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022307 เคมีอินทรีย์ 1
3(2-2)
  สมบัติ ปฏิบัติกิริยาและวิธีสังเคราะห์ของสารประกอบอะลิฟาติก ไนโตรเจนและ อะลิฟาติกซัลเฟอร์ สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ เช่น สารประกอบอะโรมาติกแฮโลเจน อะโรมาติกซัลโฟนิก อะโรมาติกไนโตรเจน อะโรมาติกอะมิโน ไดเอโซฟินอลิก และพอลินิวเคลียร์ เฮทเทอโรไซคลิก
     
4024306 เคมีของผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
Chemistry of Natural Products
3(2-2)
  การบรรยายเกี่ยวกับการแยก ลักษณะโครงสร้าง และชีวสังเคราะห์ของสารประกอบที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ
     
4024307 วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีอินทรีย์
New Technology in Organic Chemistry
2(2-0)
 

วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีอินทรีย์ที่กำลังอยู่ในความสนใจ

     
4024403 เคมีเชิงฟิสิกส์ 3
Physical Chemistry 3
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4023401 เคมีเชิงฟิสิกส์ 2
3(3-0)
  ศึกษาเกี่ยวกับอุณหพลศาสตร์เชิงฟิสิกส์ กลุ่มสมมาตรเรโซแนนซ์สเปกโทรสโกปี
     
4024404 วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีเชิงฟิสิกส์
New Technology in Physical Chemistry
2(2-0)
 

วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีเชิงฟิสิกส์ที่กำลังอยู่ในความสนใจ

     
4024503 ชีวเคมี 3
Biochemistry 3
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4023501 ชีวเคมี 2
3(3-0)
  ชีวพลังงานศาสตร์ (Bioenergetics) โครงสร้างและหน้าที่ของเยื่อเซลล์ ชีวเคมีของ ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ พันธุศาสตร์และการควบคุมความผิดปกติที่เกิดจากเมแทบอลิซึม
     
4024505 วิทยาการใหม่ในสาขาชีวเคมี
New Technology in Biochemistry
2(2-0)
  วิทยาการใหม่ในสาขาชีวเคมีที่กำลังอยู่ในความสนใจ
     
4024506 ชีวเคมีวิเคราะห์
Analytical Biochemistry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022503 ชีวเคมี 1
2(2-0)
  หลักการและวิธีการที่ใช้ในการวิเคราะห์สารชีวโมเลกุล ทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณ การประยุกต์ใช้วิธีการเหล่านี้ ศึกษาและติดตามปฏิกิริยาทางชีวเคมีของสารเหล่านั้น
     
4024601 เคมีวิเคราะห์ 1
Analytical Chemistry 1
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4023201 เคมีอนินทรีย์ 1
3(2-2)
  หลักการเบื้องต้นในการวิเคราะห์ การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ วิธีเบื้องต้นในการทำคุณภาพวิเคราะห์แบบกึ่งจุลภาค การวิเคราะห์ แคตไอออนและแอนไอออนในสารอนินทรีย์ การวิเคราะห์และการคำนวณหาปริมาณสารเคมีในปฏิกิริยา กรด เบส และปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาตกตะกอน และการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน
     
4024605 วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีวิเคราะห์
New Technology in Analytical Chemistry
2(2-0)
  วิทยาการใหม่ในสาขาเคมีวิเคราะห์ที่กำลังอยู่ในความสนใจ
     
4024606 การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือชั้นสูง
Advanced Instrumental Analytical Chemistry
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4022618 การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1
- 4023603 การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2
2(2-0)
  หลักการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือชั้นสูง โดยเน้นข้อดีข้อเสียของวิธีวิเคราะห์แต่ละวิธี และวิธีการออปติไมซ์เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์ที่เที่ยงตรงและแม่นยำ
     
4024701 เคมีอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม
Industrial and Environment Chemistry
3(2-2)
  กระบวนการผลิตทางเคมีและทางฟิสิกส์ในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์และประโยชน์ในอุตสาหกรรมที่สำคัญบางประเภทในประเทศ ท้องถิ่นและครัวเรือน สิ่งแวดล้อม ความ สัมพันธ์ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม การเสียดุลของสิ่งแวดล้อม การป้องกันและการแก้ไขปัญหาของสิ่งแวดล้อม
     
4024703 การเป่าแก้วเบื้องต้น
Introduction to Glass Blowing
2(1-3)
  การจัดห้องสำหรับการเป่าแก้ว สมบัติทางกายภาพของแก้ว ศึกษาชนิดของหัวเป่า และเปลวไฟ เครื่องมืออื่น ๆ ที่ใช้ในการเป่าแก้ว เทคนิคเบื้องต้นในการเป่าแก้ว เช่น การตัด การงอ การต่อแก้วชนิดต่าง ๆ การซ่อมแซมและสร้างเครื่องแก้วที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ
     
4024708 คุณสมบัติของสสารและรีโอโลยี
Properties of Matter and Rheology
3(2-2)
  บทนำ โครงสร้างอะตอมกับสมบัติทางฟิสิกส์ของวัสดุ แรงระหว่างอะตอม และโมเลกุล โครงสร้างของของแข็ง และโครงสร้างของโพลิเมอร์ผิว และปรากฏการณ์ผิว ขนาดอนุภาค และลักษณะการจัดตัวของอนุภาค สมบัติทางกลของวัตถุ สมบัติทางวีสโคอีลาสติก ความหนืด และของไหลประเภทนิวโต-เนียน และนอนนิวโตเนี่ยน หลักการวัดการไหล และวีสโคมิเตอร์ ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อความหนืด และการไหล การปฏิบัติการ ให้ฝึกปฏิบัติโดยสอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชา
     
4024801 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคมี 3
Field Expereiences in Chemistry 3
5(250)
  ให้มีการฝึกไม่ต่ำกว่า 250 ชั่วโมง ในสถานประกอบการที่เป็นของเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐที่เหมาะสมในเรื่องเกี่ยวกับงานด้านเคมี
     
4024802 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ 3
Field Experiences in Rubber and Polymer Technology 3
5(450)
  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้านเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ในสถานประกอบการที่เป็นของรัฐหรือเอกชน เพื่อให้เกิดความรู้ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และประสบการณ์
     
4024903 เคมีศึกษา
Chemistry Education
3(2-2)
  ศึกษาค้นคว้าหลักสูตรวิชาเคมีในประเทศและต่างประเทศ ทำการทดลองโดยใช้วัสดุเครื่องมือ ค้นคว้า นำข้อมูลมาอภิปรายเกี่ยวกับความคิดรวบยอดที่สำคัญในหลักสูตรเคมี ระดับมัธยมศึกษา ฝึกการสอนแบบจุลภาคและการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เขียนคู่มือการทดลอง จัดทำอุปกรณ์ การทดลองเขียนข้อสอบ วัดผลและประเมินผล
     
4024904 โครงการวิจัยทางเคมี
Senior Project in Chemistry
2(0-4)
  ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง รวบรวม เสนอผลงาน เขียนรายงานผลการวิจัยในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในวิชาเคมี
     
4024905 สัมมนาเคมีเฉพาะทาง 1
Seminar in Specialized Chemistry 1
1(0-2)
  ศึกษางานวิจัยความรู้ทางเคมีใหม่ ๆ จากวารสาร ตำรา เทคโนโลยีสารสนเทศ แล้วนำผลการค้นคว้ามาอภิปราย แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
     
4024906 สัมมนาเคมีเฉพาะทาง 2
Seminar in Specialized Chemistry 2
1(0-2)
  นำเสนอผลงานการศึกษาจากโครงงานวิจัยทางเคมีของนักศึกษาเอง
     
4024907 สัมมนาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์
Seminar in Rubber and Polymer Technology
2(2-0)
  สัมมนาการฝึกงานในโรงงานอุตสาหกรรรม และสัมมนาการวิจัยเทคโนโลยียาง และพอลิเมอร์
     
4024908 ปฏิบัติการวิจัยทางเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์
Research Practicum in Rubber and Polymer Technology
วิชาที่ต้องเรียนมาก่อน :
- 4112302 วิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์
5(300)
  การเขียนเค้าโครงการวิจัยการวางแผนการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และปฏิบัติการวิจัยความรู้พื้นฐาน หรือการประยุกต์เกี่ยวกับเทคโนโยลียางและพอลิเมอร์
     

ต่อไป ต่อไป